Skip to content
Home » News » จุดจบของลัทธิฟาสซิสต์

จุดจบของลัทธิฟาสซิสต์

จุดจบของลัทธิฟาสซิสต์ หลังจากที่มุสโสลินีทำให้ประเทศพ่ายแพ้ในสงครามอย่างต่อเนื่อง ในวันที่ 25 กรกฎาคม ปี 1943 กษัตริย์วิตโตริโอ เอมานูเอลที่ 3 จึงทรงรับสั่งให้มุสโสลลินีเข้าเฝ้า และปลดอำนาจผู้เผด็จการของเขา หลังจากออกจากพระราชวัง มุสโสลินีถูกจับกุมโดยทันที เขาถูกควบคุมตัวอยู่ในเคหสถานบนภูเขาอันโดดเดี่ยวและตัดขาดจากโลกภายนอกโดยสิ้นเชิง 

กระทั่งหน่วยคอมมานโดของเยอรมันได้บุกเข้าชิงตัวเขาออกมา โดยมีฮิตเลอร์ช่วยจัดตั้งรัฐบาลหุ่นให้เขาที่เมืองซาโล (Salo) เขตยึดครองของเยอรมนีริมทะเลสาบการ์ดา (Garda Lake) ทางเหนือของอิตาลี มีชื่อเรียกว่า “สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี”  นับเป็นการเกิดใหม่ของรัฐฟาสซิสต์อิตาลี ซึ่งอยู่ภายใต้นาซีเยอรมัน

ภายหลังจากที่เบนิโต มุสโสลินี ผู้นำพรรคฟาสซิสต์ ประกาศนำ “ชายชุดดำ” เข้ายึดสถานที่ราชการต่างๆในเหตุการณ์ “March on Rome” จนพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี ทรงมอบตำแหน่งนายกรัฐมนตรีให้ เพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรงทางการเมือง ทั้งยังสนับสนุนพรรคฟาสซิสต์ในการต่อกรกับพรรคสังคมนิยมอิตาลีที่มีนโยบายล้มล้างสถาบันกษัตริย์

เมื่อมุสโสลินีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการประชุมรัฐสภาครั้งแรกเขาประกาศจุดยืนชัดเจนในการปฏิรูประบบรัฐสภา และการเลือกตั้ง โดยสนับสนุนให้สหภาพแรงงานเข้ามามีบทบาททางการเมือง รวมทั้งแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ที่นั่ง 2 ใน 3 แก่พรรคการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเกินร้อยละ 25 ทำให้พรรคฟาสซิสต์สามารถครองที่นั่งในสภาได้ 2 ใน 3 จากการเลือกตั้งเมื่อปี 2467

https://www.trueplookpanya.com/blog/content/51382/-timhis-tim-

นอกจากพรรคฟาสซิสต์จะครองเสียงข้างมากในสภาแล้ว พรรคฝ่ายค้านยังถูกข่มขู่คุกคามจนต้องถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกสภาในที่สุด ทำให้พรรคฟาสซิสต์สามารถครองสภา และแก้ไขรัฐธรรมนูญ // ในปี 2471 “สภาสูงสุดของพรรคฟาสซิสต์” หรือ “แกรน คอนซิจลิโย เดล ฟาซิสสิโม” กลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจเหนือองคพยพทั้งมวลของประเทศ หลังการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาสิ้นสุดลง

สภาสูงสุดของพรรคฟาสซิสต์ ก่อตั้งภายหลังเหตุการณ์ “March on Rome” จึงกลายเป็นองค์กรสูงสุดของรัฐในปี 2471 โดยมุสโสลินีดำรงตำแหน่งประมุขของรัฐ เพื่อรับสนองพระบรมราชโองการของกษัตริย์ สภานี้มีอำนาจเบ็ดเสร็จในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการสรรหาผู้แทนราษฎรที่มาจากสหภาพวิชาชีพต่างๆ การถวายคำแนะนำกษัตริย์ในการแต่งตั้งถอดถอนนายกรัฐมนตรี ที่สำคัญสภาแห่งนี้ยังมีสิทธิในการเลือกองค์รัชทายาทเพื่อการสืบราชสันติวงศ์ได้อีกด้วย

อำนาจที่ล้นพ้นของพรรคฟาสซิสต์นำไปสู่จุดจบของสภาผู้แทนราษฎรแบบเดิม ซึ่งต่อมามีการตั้ง “สภาฟาสซิสต์และความร่วมมือ” หรือเรียกสั้นๆว่า “สภาแห่งชาติ” ขึ้นทดแทนในปี 2482 สภาแห่งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อดำเนินการทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม แต่เป็นความร่วมมือของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ เช่น สหภาพวิชาชีพ กลุ่มทุนทั้ง 22 องค์กร ร่วมมือกันเป็นหนึ่งเดียวภายใต้การควบคุมอย่างเบ็ดเสร็จของมุสโสลินี

สภาฟาสซิสต์และความร่วมมือถึงจุดสิ้นสุดในปี 2486 เมื่อกองทัพสัมพันธมิตรกรีฑาทัพสู่กรุงโรม และโค่นล้มระบอบฟาสซิสต์ของมุสโสลินี ทำให้พระเจ้าวิคเตอร์ เอมมานูเอลที่ 3 ทรงสละราชย์สมบัติ ทำให้พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 พระโอรสขึ้นครองราชย์ แต่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสาธารณรัฐและฝ่ายกษัตริย์นิยม ก็นำไปสู่การลงประชามติกำหนดอนาคตชาติ ปรากฏว่าฝ่ายสาธารณรัฐชนะการลงประชามติด้วยคะเเนนเสียงร้อยละ 54 ด้วยเหตุผลที่ว่า สถาบันกษัตริย์สนับสนุนระบอบฟาสซิสต์ของมุสโสลินี อิตาลีจึงเป็นสาธารณรัฐจนถึงปัจจุบัน

เมื่อมองย้อนกลับมาที่ “สภาประชาชน” ของกลุ่ม กปปส. ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาฟาสซิสต์ ที่คัดสรรบุคคลซึ่งพวกเขาเชื่อว่าเป็น “คนดี” จากทุกสาขาวิชาชีพมาดำรงตำแหน่งทางการเมือง แต่คนกลุ่มนี้ยังคงถูกตั้งคำถามเรื่องความชอบธรรม จากการใช้สิทธิแทนชาวไทยทั้งประเทศ เพื่อเลือกผู้แทนให้กับประชาชน ทั้งที่คนส่วนใหญ่ยังคงเชื่อมั่นในคุณค่า และบรรทัดฐานตามระบอบประชาธิปไตย ผ่านการลงคะแนนเลือกตั้งด้วยตนเอง

ด้วยเหตุนี้จึงมีคำถามเกิดขึ้นว่า อะไรคือความต้องการที่แท้จริงของกลุ่ม กปปส. ต่อการปฏิรูปประเทศ ซึ่งอาจหวนประเทศกลับไปเป็นเหมือนอิตาลีในสมัยของมุสโสลินีก็เป็นได้

หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลง ฝ่ายอักษะได้แพ้สงคราม มุสโสลินีจึงถูกฝ่ายต่อต้านเผด็จการจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน ในปี 1945  และถูกสำเร็จโทษโดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ  (Comitato di liberazione nazionale – CLN) ในวันถัดมา ด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ ประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน

ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย “การสวนสนามแห่งโรม” (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูป บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย “รัฐบรรษัท” (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี

จุดจบของลัทธิฟาสซิสต์
http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=895417

มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี ภรรยาน้อย และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน

http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=895417

จุดจบของลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์เป็นชื่อของอาณาจักรโรมันสมัยก่อน มันคือไม้เมื่อไม้มีอยู่แท่งเดียวก็จะหักได้ง่าย แต่เมื่อนำไม้มารวมกันนั้นจะหักได้ยากมาก เหมือนกับเมื่อชาติมีประชาชนมารวมกันก็จะทำให้ชาติแข็งแกร่งไร้เทียมทาน แต่กลายเป็นว่าลัทธิฟาสซิสต์ ไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควรเพราะประชาชนเบื่อกับการทำงาน และการปฏิวัติของลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งทำให้ลัทธิฟาสซิสต์สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2486

1ม.ค.1943(วันที่ประมาณการ)