Skip to content
Home » News » ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี
https://www.salika.co/2019/10/08/taiwan-poor-land-to-master-of-technology/

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี ไต้หวัน หรือ ไถวาน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย–แปซิฟิก ดัชนีการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูง

ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่มีจำนวนน้อย แต่เป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นสูงอุตสาหกรรมนั้นเป็นเน้นไปที่การผลิต มีการนำเข้าน้ำมันดิบและแร่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ส่งออกไปจำหน่าย ถือเป็นการค้าโดยการผลิต ในปัจจุบันมีการนำเข้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์

อุตสาหกรรมที่รวดเร็วและการเติบโตอย่างรวดเร็วของไต้หวันในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 ได้รับการขนานนามว่า “ความมหัศจรรย์แห่งไต้หวัน” ไต้หวันถือเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับการจัดอันดับขนานนามว่าเป็น “สี่เสือแห่งเอเชีย” เคียงคู่ไปกับฮ่องกง,เกาหลีใต้และสิงคโปร์

ภายใต้การปกครองไต้หวันแบบอาณานิคมของญี่ปุ่นก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองนำการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเอกชน, สิ่งที่เป็นที่รับรู้และมีชื่อเสียงที่สุดคือ พื้นที่ของงานสาธารณะซึ่งเปิดใช้งานการสื่อสารที่รวดเร็วและอำนวยความสะดวกการขนส่งทั่วเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นยังปรับปรุงการศึกษาของรัฐและทำให้เกิดการศึกษาบังคับสำหรับชาวไต้หวันทุกคน ในปี ค.ศ. 1945

เมื่อญี่ปุ่นได้แพ้สงครามโลกครั้งที่สองและได้คืนเกาะไต้หวันให้กับสาธารณรัฐจีน ได้เกิดภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอันเป็นผลมาจากสงครามกับญี่ปุ่น เพื่อแยกไต้หวันออกจากปัญหาเศรษฐกิจในแผ่นดินใหญ่นั้น รัฐบาลจีนคณะชาติของสาธารณรัฐจีนได้สร้างพื้นที่ให้กับสกุลเงินใหม่สำหรับเกาะไต้หวันและเริ่มใช้กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพราคา ความพยายามเหล่านี้ทำให้อัตราเงินเฟ้อชะลอตัวลงอย่างมาก

เมื่อรัฐบาลจีนคณะชาติของพรรคก๊กมินตั๋งได้หนีไปไต้หวัน ได้มีการโอนและขนย้ายทองคำแท่งมานับล้านตำลึง (ขณะนั้นมูลค่าอยู่ที่ 1 ตำลึง = 37.5 กรัม หรือ ~1.2 ทรอยออนซ์) ของทองคำ และเงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศของจีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่งตามรายงานพรรคก๊กมินตั๋งระบุว่าราคามีเสถียรภาพและช่วยลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อได้ บางทีที่สำคัญกว่านั้นในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการหลบหนีไปยังไต้หวัน

พรรคก๊กมินตั๋งได้นำปัญญาชนและนักธุรกิจจากจีนแผ่นดินใหญ่มายังเกาะไต้หวันด้วย จึงอาจสันนิษฐานได้ว่ามีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจไต้หวันเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว รัฐบาลก๊กมินตั๋งได้จัดตั้งกฎหมายอำนวยเศรษฐกิจมากมายและเริ่มการปฏิรูปที่ดิน ซึ่งไม่สามารถใช้อย่างมีประสิทธิภาพในจีนแผ่นดินใหญ่มาก่อนเลย รัฐบาลยังดำเนินนโยบายการทดแทนการนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม โดยพยายามส่งเสริมการผลิตสินค้าบริโภคภายในประเทศ

ในปี ค.ศ. 1950 ด้วยการปะทุของสงครามเกาหลี เพื่อต้านการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ทำให้สหรัฐเริ่มโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะไต้หวันซึ่งส่งผลให้ราคามีเสถียรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1952 การพัฒนาเศรษฐกิจได้รับการสนับสนุนจากความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของอเมริกาและการริเริ่ม เช่น คณะกรรมาธิการร่วมเพื่อการฟื้นฟูชนบท

ซึ่งทำให้ภาคเกษตรกรรมกลายเป็นพื้นฐานสำหรับการเติบโตในภายหลัง ภายใต้มาตรการกระตุ้นการรวมตัวของการปฏิรูปที่ดินและแผนพัฒนาการเกษตรการผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 4 จากปี 1952 ถึง 1959 ซึ่งสูงกว่าการเติบโตของประชากร 3.6%

ในปี ค.ศ. 1962 ไต้หวันมีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (ระดับต่ำ) ต่อหัว (GNP) อยู่ที่ 170 ดอลลาร์สหรัฐ เศรษฐกิจของไต้หวันถือว่าเป็นที่เท่าเทียมเมื่อเทียบกับของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก บนความเท่าเทียมกันของกำลังซื้อ (PPP) พื้นฐาน GDP ต่อหัวของประชากรในช่วงต้นทศวรรษ 1960 อยู่ที่ 1,353 ดอลลาร์ (ในราคา 1990) ภายในปี ค.ศ. 2011 GNP ต่อหัวซึ่งปรับสำหรับกำลังซื้อภาค (PPP) เพิ่มขึ้นเป็น 37,000 เหรียญสหรัฐ

มีส่วนทำให้ของไต้หวันยกระดับดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) เทียบเท่ากับประเทศที่พัฒนาแล้วอื่น ๆ HDI ของไต้หวันในปี ค.ศ. 2012 อยู่ที่ 0.890 (อันดับที่ 23 ถือว่าอยู่ในระดับสูงมาก) ตามวิธีการคำนวณใหม่ “การปรับความไม่เท่าเทียมกันของ HDI” ของสหประชาชาติ

ในปี ค.ศ. 1974 ประธานาธิบดีเจียง จิ่งกั๊วะ ได้ริเริ่มดำเนินการสิบโครงการก่อสร้างสำคัญเป็นการเริ่มต้นวางรากฐานที่ช่วยให้ไต้หวันพัฒนาเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจขับเคลื่อนการส่งออกในปัจจุบัน นับตั้งแต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา บริษัท เทคโนโลยีในไต้หวันจำนวนหนึ่งได้ขยายการเข้าถึงไปทั่วโลก

บริษัทเทคโนโลยีระหว่างประเทศที่มีชื่อเสียงที่เป็นที่นิยมและรู้จักกัน ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ในไต้หวัน ได้แก่ ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Acer Inc. และ Asus, ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ HTC รวมถึงผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ Foxconn ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์สำหรับ Apple, Amazon และ Microsoft งาน Computex Taipei เป็นงานแสดงสินค้าคอมพิวเตอร์ที่สำคัญซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981

ไต้หวันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน, ไต้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิว รวมถึงเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง เรียกรวมกันว่า “พื้นที่ไต้หวัน เมืองหลวงคือ กรุงไทเปปัจจุบันมีการสร้างเขตปกครองไทเปใหม่ เป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้

ไต้หวันเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 เป็นดินแดนประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรค ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี
https://www.salika.co/2019/10/08/taiwan-poor-land-to-master-of-technology/

การท่องเที่ยวไต้หวัน

ปัจจุบันที่ไต้หวันเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวไปเที่ยวเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะคนไทย ที่ได้ยกเว้นการขอวีซ่าวีซ่าไต้หวัน และด้วยประเทศไต้หวันเองมีสถานที่เที่ยวมากมาย ทั้งที่เที่ยวในเมืองไทเป หรือจะที่เที่ยวแบบธรรมชาติอย่างเกาสง อีกทั้งค่าครองชีพไม่สูงมากนัก ทำให้นักเดินทางที่ชอบไปเที่ยวด้วยตัวเอง

ต่างก็ยกให้ ไต้หวันเป็นประแทศที่เที่ยวด้วยเองได้ง่าย ๆ ให้ประเทศไต้หวันเป็นอันดับแรก ๆ ที่เที่ยวไต้หวัน มีเยอะ ทั้งแลนด์มาร์คดัง ๆ อย่างตึกไทเป 101 (Taipei 101), หมู่บ้านโบราณจิ่วเฟิ่น (Jioufen), ตลาดปลาไทเป (Taipei Fish Market) อีกทั้งยังเป็นดินแดนแห่งสตรีทฟู้ดที่อร่อยอีกด้วย เนื่องจากมีตลาดกลางคืนมากมาย เช่น ตลาดซีเหมินติง (Ximending), ตลาดซื่อหลิน (Shilin Night Market) เป็นต้น

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี
https://www.salika.co/2019/10/08/taiwan-poor-land-to-master-of-technology/

แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของคนไทย

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี ไต้หวันถือเป็นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของคนไทยและสามารถหาซื้อสินค้าที่มีราคาถูกได้ ทั้งยังมีค่าเงินใกล้เคียงกับไทยคือ 1 NT = 1.1 บาท การเดินทางเข้าไต้หวันไม่ต้องขอวีซ่า มีเครื่องบินที่บินตรงถึงจุดหมาย มีทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งชอปปิ้ง ตึกไทเป 101 ที่เคยได้ขึ้นชื่อว่าสูงที่สุดในโลก ก่อนจะถูกตึกดูไบแย่งแชมป์ไป การคมนาคมทันสมัย ในขณะเดียวกันก็ยังคงเอกลักษณ์วัฒนธรรมไว้อย่างแนบแน่น ที่สำคัญคือ เราสามารถสัมผัสแหล่งท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ ได้ภายใน 1 วัน ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถือว่าไม่แพงมากนัก เมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้วหลายๆ แห่ง

อย่างไรก็ตาม ด้วยศักยภาพของเมืองที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่แต่จำนวนประชากรไม่มากนักทำให้บรรยากาศในไต้หวันไม่พลุกพล่าน ประกอบกับอาคารหลายแห่งใช้โทนสีเบสเก่าๆ และป้ายร้านค้าที่นิยมใช้โทนสีดำ–แดง ทำให้บรรยากาศรวมดูทึมๆ ไม่คึกคัก แต่ก็ฉาบไปด้วยสีสันแห่งเอกลักษณ์และความสบายใจ

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน จุดเปลี่ยนของไต้หวัน

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน ในอดีตไต้หวันถือเป็นหนึ่งในดินแดนที่มีความยากจน เป็นแหล่งอาศัยของชนพื้นเมืองและมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนจนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงล้มอำนาจ เจิ้ง เฉิงกง ขุนศึกหมิงรวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้ ตั้งราชอาณาจักรตงหนิงขึ้นบนเกาะ แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี
https://www.salika.co/2019/10/08/taiwan-poor-land-to-master-of-technology/

ต่อมาเกิดความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้นมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคก๊กมินตั๋งได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคคอมมิวนิสต์จีน พรรคก๊กมินตั๋งจึงหนีมายังเกาะไต้หวันและสถาปนา ‘สาธารณรัฐจีน’ ขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหาก ส่วนฝ่ายคอมมิวนิสต์จีนที่เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะได้สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ โดยจีนยังคงถือว่าไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นเอกราชมาจนบัดนี้

จ้าวแห่งเทคโนโลยี

ย้อนหลังกลับไปเมื่อกว่าครึ่งศตวรรษ เกาะไต้หวันยังเป็นดินแดนยากจน ประชากรมีรายได้ต่อหัวเพียง 2,000 บาท/คน/เดือน แต่ปัจจุบันประชากรชาวไต้หวัน 23 ล้านคน มีรายได้เฉลี่ยกว่า 20,000 บาท/คน/เดือน มากกว่าในอดีตถึง 10 เท่าตัว

จุดเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้นในปี 1973 เมื่อรัฐบาลไต้หวันต้องการปรับระบบอุตสาหกรรมจากการรับจ้างผลิต มาสู่อุตสาหกรรมขั้นสูงด้วยการจัดตั้ง “สถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม” Industrial Technology Research Institute (ITRI) พัฒนาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออุตสาหกรรมแห่งอนาคต คิดค้นเทคโนโลยีการผลิตชิปของตัวเอง ภายใต้การดำเนินงานของบริษัท Taiwan Semiconductor Manufacturing Company (TSMC) ในปี 1987 ผลิตชิปให้กับบริษัทระดับโลก เช่น Apple และอีกกว่า400 บริษัททั่วโลก ใช้งบประมาณเพื่อการวิจัยและพัฒนาสูงถึง 3.3% ของ GDP ซึ่งเป็นสัดส่วนที่มากกว่าประเทศไทยถึง 4 เท่า

ต้นแบบพลังงานทางเลือก

ปี 2000 ขณะที่ทุกประเทศยังเพลิดเพลินกับการใช้พลังงานฟอสซิล ไต้หวันเริ่มคิดค้นพลังงานรูปแบบใหม่ เช่น แบตเตอรี่ลิเธียม ไอออน สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า เพราะต้องการสร้างนวัตกรรมแบตเตอรี่รูปแบบใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการสร้างโรงงานระบบปิดที่ใช้ออโตเมชันบริหารจัดการ ปราศจากสารปนเปื้อนไหลออกจากโรงงาน จนได้รับการยอมรับจากชุมชนว่าอยู่ร่วมกับโรงงานได้อย่างยั่งยืน ปัจจุบันแบตเตอรี่ลิเธียมได้รับความนิยมในไต้หวันทั้งในรถยนต์ไฟฟ้า รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า และขยายเข้าไปในโรงงานอุตสาหกรรม อาคารประหยัดพลังงาน ตอบโจทย์สังคมยุคใหม่ที่ต้องการอุตสาหกรรมสะอาดและมีคุณภาพ

ไต้หวัน จากดินแดนยากจน สู่จ้าวแห่งเทคโนโลยี
https://www.salika.co/2019/10/08/taiwan-poor-land-to-master-of-technology/

วันที่ในข่าวนี้ 1 มกราคม 1980 วันที่ประมาณการ